จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

วันเสาร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการความรู้


เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการความรู้ที่จะมานำเสนอในบทความนี้มี 2 เทคโนโลยีคือ

1.Collaborative software
2.Communication technology


1.collaborative software คือซอฟต์เเวร์ที่มีลักษณะเพื่อการทำงานร่วมกัน

collaborative software คือซอฟต์เเวร์ที่มีลักษณะเพื่อการทำงานร่วมกัน
1.กลุ่มที่ใช้ประโยชน์ในการติดต่อสื่อสาร                    
2.กลุ่มที่ใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้
1.ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม collaborative software ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม collaborative softwareคือ ซอฟต์เเวร์ที่มีลักษณะเพื่อการทำงานร่วมกัน
1.กลุ่มที่ใช้ประโยชน์ในการติดต่อสื่อสาร
2.กลุ่มที่ใช้ประโยชน์ในการจัดการเรียนรู้ ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม (Social Software ) คือ ซอฟต์แวร์ที่ทำให้ผู้คนสามารถนัดพบปะเชื่อมสัมพันธ์หรือทำงานร่วมกันโดยมีคอมพิวเตอร์เป็นสื่อกลาง เกิดเป็นสังคมหรือชุมชนออนไลน์คำนี้มีความหมายมากกว่าสื่อเก่า ๆ อย่าง Mailing List และ UseNet กล่าวคือหมายรวมถึง E-mail , msn , instant messaging , web , blog และ wiki ซอฟต์แวร์ที่มีลักษณะเพื่อการทำงานร่วมกันเรียกว่า Collaborative Software. ในการศึกษาซอฟต์แวร์เพื่อสังคมนั้น เราต้องทำความเข้าใจกับคำว่า “ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม” ก่อน
2.ส่วนการจำแนกกลุ่มของซอฟต์แวร์เพื่อสังคมนั้น ในตอนนี้แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ
1. กลุ่มที่ใช้ประโยชน์ในการติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต
2. กลุ่มที่ใช้ประโยชน์ในการจัดการความรู้ เครื่องมือที่จัดว่าเป็นซอฟต์แวร์เพื่อสังคมมีลักษณะการใช้ประโยชน์ร่วมกันในสังคมมนุษย์ เช่น การติดต่อสื่อสาร การแบ่งปันความรู้ การจัดการความรู้ เป็นต้น
3.ชนิดของเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร เครื่องมือเพื่อการสื่อสาร แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ
- เครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารสองฝ่ายไม่พร้อมกัน (Asynchronous) คือไม่จำเป็นต้องอยู่ที่หน้าเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมกัน ตัวอย่างเช่น การใช้ E-mail , Web board , Newsgroup เป็นต้น
4. ตัวอย่างเครื่องมือทางสังคมต่าง ๆ
3.1 Blog ความหมายของคำว่า Blog Blog มาจากคำเต็มว่า WeBlog บางครั้งอ่านว่า We Blog บางคนอ่านว่า Web Log แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นทั้งสองคำบ่งบอกถึงความหมายเดียวกันว่านั่นคือ บล็อก (Blog) Blog คือการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบนเว็บไซต์ ใน blog นั้นจะมีเนื้อหาเป็นเรื่องใดก็ได้ เช่น การเขียนเรื่องราวของตนเอง การเขียนวิจารณ์เรื่องราวหรือหัวข้อ
3.2 Internet Forum Internet Forum เป็นส่วนหนึ่งใน World Wide Web ที่มีไว้สำหรับเก็บการอภิปราย หรือซอฟต์แวร์ที่ให้บริการด้านนี้ฟอรั่มในเว็บเริ่มประมาณปี 1995 โดยทำหน้าที่คล้ายกับ Bulletin Board และ Newsgroup ที่มีมากมายในยุค 1980s และ 1990s ความเป็นชุมชนเสมือนของฟอรั่มเกิดจากผู้ใช้ขาประจำประเด็นที่เป็นที่นิยมของฟอรั่มทั่วไปมี เทคโนโลยี เกมคอมพิวเตอร์
 3.3 Wiki Wiki อ่านออกเสียง "wicky", "weekee" หรือ "veekee" เป็นเทคโนโลยีที่ทำให้เราสามารถสร้างและแก้ไขหน้าเว็บเพจขึ้นมาใหม่ผ่านทางบราวเซอร์ โดยไม่ต้องสร้างเอกสาร html เหมือนแต่ก่อน แต่ Wiki เน้นการทำระบบสารานุกรม , HOWTOs ที่รวมองค์ความรู้หลายๆ แขนงเข้าไว้ด้วยกันโดยเฉพาะ มีเครื่องมือที่ใช้ทำ Wiki หลายอย่าง เช่น Wikipedia , MoinMoin , WackoWiki เป็นต้น Wikipedia เป็นระบบสารานุกรม(Encyclopedia) สาธารณะ ที่ทุกคนสามารถใส่ข้อมูลลงไปได้ รองรับภาษามากกว่า 70 ภาษารวมทั้งภาษาไทย สำหรับภาษาไทยสามารถเข้าอ่านได้ที่ http://th.wikipedia.org รายละเอียดเกี่ยวกับ Wiki สามารถอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ http://en.wikipedia.org , http://th.wikipedia.org , http://www.wiki.org
3.4 Instant Messaging เป็นการอนุญาตให้มีการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลบนเครือข่ายที่เป็นแบบ Relative privacy ( ออกจะเป็นส่วนตัว ) ตัวอย่าง client ที่เป็นที่นิยมเช่น Gtalk , Skype , Meetro , ICQ , Yahoo Messenger , MSN Messenger และ AOL Instant Messenger เป็นต้น ในการใช้งาน
3.5 ปัจเจกวิธาน (Folksonomy) ก่อนหน้าการกำเนิดขึ้นของปัจเจกวิธาน โดยทั่วไปแล้ว ได้มีการจัดกลุ่มการจัดระเบียบและค้นหาข้อมูลในอินเทอร์เน็ตโดยทั่วไปมี 3 แบบ คือ
 - ค้นหาในเนื้อความ (Text Search)
- เรียงเนื้อหาตามลำดับเวลา (Chronological)
- แยกตามกลุ่มประเภท (Category, Classification)
5.ปัญหาที่พบเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารบนอินเทอร์เน็ต ได้แก่
- เนื้อหามีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วรายวัน - การค้นหาข้อมูลที่ตรงตามความต้องการมากที่สุดทำได้ยาก เนื่องจากเนื้อหาที่มีจำนวนมาก
- การค้นหาข้อมูลเฉพาะด้านที่ขึ้นกับความสนใจของผู้ทำการค้นไม่ตรงจุด
 - ข้อมูลที่พบอาจจะขาดความน่าเชื่อถือ การที่ใคร ๆ สามารถสร้างเนื้อหาเผยแพร่บนเว็บได้ง่าย โดยผ่านทาง Blog และ Forum ทำให้การจัดเก็บข้อมูลต้องมีการพิจารณาให้เหมาะสมเพื่อให้สามารถทำงานกับข้อมูลจำนวนมากบนอาณาเขตอินเตอร์เน็ตที่กว้างใหญ่ได้ ปัญหาหนึ่งคือ ไม่สามารถหาวิธีจัดกลุ่มเนื้อหาที่เป็นที่ยอมรับร่วมกันของคนทั้งโลกได้ อาจจะทำได้เพียงไม่ถึง 1 % ของเว็บทั้งหมด
3.6 Knowledge Unifying Initiator (KUI) Knowledge Unifying Initiator หรือเรียกย่อ ๆ ว่า KUI หรือ “คุย” ในภาษาไทยหมายถึงการสนทนา โดยคำว่า Knowledge Unifying Initiator หมายถึง กลุ่มผู้รวบรวมความรู้ โดย KUI จัดว่าเป็นซอฟต์แวร์ทางสังคม(Social Software) และการจัดการความรู้ (Knowledge Management)
อ้างอิงจาก https://www.gotoknow.org/posts/289685

2.เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology) 

 เทคโนโลยีการสื่อสาร  หมายถึง เทคโนโลยีในการสื่อสารยุคใหม่ 4 กลุ่มได้แก่       
1. เทคโนโลยีการแพร่ภาพและเสียง (Broadcast and Motion  Picture Technology)       
2. เทคโนโลยีการพิมพ์ (Print and Publishing Technology)       
3. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (Computer Technology)      
 4. เทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication Technology) บทบาทของเทคโนโลยีการสื่อสารในปัจจุบัน เช่น คอมพิวเตอร์ ดาว-เทียมเพื่อการสื่อสาร โครงข่ายโทรศัพท์ อุปกรณ์ ภาพและเสียง มีผลกระทบต่อ "สื่อแบบดั้งเดิม" (Traditional Media) ซึ่งได้แก่หนังสือพิมพ์ นิตยสารวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ทําให้ เกิดสิ่งที่เรียกว่า "การปฏิวัติแห่งระบบตัวเลข"(Digital Revolution) ทํา ให้ข้อมูลข่าวสารไม่ว่าจะอยู่ในรูปลักษณ์ใด เช่น ข้อความเสียงภาพเคลื่อนไหวรูปภาพ หรืองานกราฟิก ได้รับการปรับเปลี่ยนให้เป็นภาษาอีกชนิดหนึ่งเป็นรูปแบบเดียวกันทั้งหมด คือสามารถอ่านและส่งผ่านได้อย่างรวดเร็วด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วยังสามารถนําเสนอในลักษณะใดก็ได้ตามความต้องการใชhงานของผู้ใช้งาน ความเปลี่ยนแปลงนี้ถูกเรียกขานว่า "การทําให้เป็นระบบตัวเลข" หรือ"ดิจิไทเซชั่น" (Digitization)ด้วยระบบที่มีการทําให้เป็นระบบตัวเลข เป็นปัจจัยสําคัญประการหนึ่งที่ทําให้เกิด "สื่อใหม่" (New Media) ขึ้น เป็นสื่อที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกับระบบตัวเลข เครื่องคอมพิวเตอร์ และระบบการสะท้อนกลับ หรือ "อินเตอร์ แอคทีฟ"(Interactive)  เทคโนโลยีการสื่อสาร (Communication Technology)  คือเทคโนโลยีดิจิตัล (Digital Technology) ประเภทหนึ่งซึ่งได้พัฒนาตัวเพื่อเอื้อต่อการจัดการการสื่อสาร(Communication)” หรือ การขนส่งข่าวสาร (Transfer of Information)” เทคโนโลยีการสื่อสาร ไม่ว่าจะเป็นทางด้านภาพ (Image) เสียง (Voice) หรือทางด้านข้อมูล (Data) ได้ รับการพัฒนาจนมนุษย์สามารถเชื่อมโยงติดต่อกันได้อย่างสะดวกรวดเร็วและเป็น เครือข่ายที่ติดต่อสื่อสารกันได้ทั่วโลก เป็นยุคของสารสนเทศ (Information Age)และเป็นสังคมสาร- สนเทศ (InformationSociety) ที่นับวันจะมีอัตราการเติบโตขึ้นทุกที่ทั้งในด้านขนาดและปริมาณข่าวสารที่ไหลเวียนอยู่ในสังคม

ที่มา: http://serenaderabbit.blogspot.com/2011/05/communication-technology.html

เทคโนโลยีการจัดเก็บ (Storage technology) 

2 ความคิดเห็น: